1. การใช้คุณประโยชน์ของ Google Search Bar อย่างมีประสิทธิภาพอย่างผู้เชี่ยวชาญ
การค้นหาสิ่งมากมายบน Google ได้อย่างรวดเร็วและแม่นยำด้วยเคล็ดลับพิเศษแบบฉบับผู้เชี่ยวชาญในชีวิต LifeStream ของเหล่านักพัฒนาและผู้เสพสื่อแบบเรา ๆ ชาว IT ก็คงจะผ่านตา Google ที่เรารู้จักในนามตัวแทนแห่งเครื่องมือการค้นหาที่มีประสิทธิภาพที่สุด เราสามารถแสดงวิธีค้นหาข้อมูล
ที่ต้องการแบบทันทีทันใดผ่านเครื่องมือค้นหาตัวนี้ ตั้งแต่ ข้อมูลภาพยนตร์ เพลงหรือ ศิลปินที่เรา อยากจะค้นหา และยังมีเรื่องง่าย ๆ กับข้อมูลที่เก่าเก็บด้วยการกดดู Cache ของ Google เพื่อดูเนื้อหาที่ผ่านมาแล้วหลายปี
Google คือ ผู้ให้บริการ Search Engine ที่ใหญ่ที่สุดในโลก และมีผู้นิยมใช้งานมากกว่า 80% จากผู้เล่นอินเตอร์เน็ตทั้งหมด Google นอกจากจะให้บริการ Search Engine แล้ว ยังมีบริการอื่นๆที่มีประโยชน์อีกมากมาย
ประโยชน์ของ Google ในการบริการ ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มได้ 3 กลุ่ม โดยแบ่งออกตามความสามารถในการทำงานในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. บริการในกลุ่มดัชนีค้นหา (Search Engines) Google Web Search Features ประกอบด้วย
บริการค้นหาต่อไปนี้
· Book Search : บริการค้นหาหนังสือแบบออนไลน์ ซึ่งเป็นบริการใหม่ของ Google ที่เพิ่งเปิดให้บริการกับแฟนหนังสือโดยเฉพาะ
· Cached Links :บริการช่วยจับประเด็นหรือหัวเรื่องสำคัญของเว็บไซต์ที่ต้องการจะ
ค้นหา
· Calculator : เครื่องคำนวณทางคณิตศาสตร์ที่สามารถตั้งตัวเลข โดยคีย์ลงในช่องค้นหาของ Google แล้วคลิ้กหาคำตอบที่ต้องการได้
· Currency Conversion : บริการแปลงหน่วยมาตราเงินสำหรับระบบแลกเปลี่ยนเงินตรา
· Definitions : หมวดคำศัพท์ที่สามารถค้นหาความหมายของคำศัพท์ที่ต้องการได้อย่างง่ายดาย
· File Types : ดัชนีค้นหาสินค้าออนไลน์ทั่วทุกมุมโลก
· Groups : ถ้าอยากรู้ข้อมูลข่าวสารที่มีคนโพสต์กันบนเว็บไซต์ สามารถค้นหาได้จากบริการนี้
· I ‘m Feeling Lucky : ปุ่มบริการดัชนีค้นหาที่ช่วยให้ค้นหาเว็บไซต์ได้อย่างรวดเร็ว และตรงประเด็น โดยข้ามลิงก์ของเว็บไซต์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องให้ถูกตัดออกไป
· Images : ระบบดัชนีค้นหารูปภาพที่คลิกได้ง่าย และเร็วทันใจ
· Local Search : บริการค้นหาธุรกิจและบริการต่าง ๆ ที่เปิดในสหรัฐ อังกฤษ และแคนาดา
· Movie : สามารถเข้าไปดูรีวิวภาพยนตร์หรือว่าตารางโปรแกรมฉายแบบเรียลไทม์ได้จากฟีเจอร์นี้
· Music Search : ดัชนีค้นหาเพลงหรือว่าดนตรีที่มีให้บริการฟังเพลงออนไลน์หรือว่าดาวน์โหลดเพลงจากทั่วโลก
· News Headlines : บริการที่ทำให้สามารถรู้ข้อมูลข่าวสารทันในที่ส่งมาจากรอบโลกแบบเรียลไทม์ · PhoneBook : บริการค้นหาเบอร์โทรศัพท์และเลขที่บนท้องถนนของสหรัฐอเมริกา
· Q&A : บริการใหม่ที่อยากรู้อะไรเกี่ยวกับ Google บริการนี้ตอบปัญหาให้คุณได้ทุกเรื่อง
· Similar Pages : บริการแสดงหน้าเว็บเพจที่แสดงผลในหน้าเว็บที่เกี่ยวข้อง
· Site Search : กำหนดขอบเขตของการค้นหาเว็บไซต์ให้แคบลง
· Spell Checker : เครื่องมือช่วยในการสะกดคำ
· Stock Quotes : ดัชนีค้นหาสำหรับราคาหุ้นแบบเรียลไทม์
· Travel Information : บริการตรวจสอบสายการบินในสหรัฐ รวมถึงรายงานสภาพอากาศของสนามบิน · Weather : บริการตรวจสอบสภาพอากาศและการพยากรณ์อากาศในทุกรัฐของสหรัฐ
· Web Page Translation : บริการแปลหน้าเอกสารภาษาอังกฤษเป็นภาษาอื่น ๆ
2. บริการในกลุ่ม Google Services
· Alerts : บริการแจ้งเตือนข่าวสารและผลการค้นหาผ่านอีเมล์แบบออนไลน์
· Answer : บริการตอบคำถามได้ทุกเรื่องที่อยากรู้ โดยนักวิจัยชื่อดังกว่า 500 คน
· Blog Search : บริการค้นหาหัวข้อเรื่องที่เป็น Blog
· Catalogs : ในประเด็นที่สนใจ บริการค้นหารายการสินค้าที่สนใจและต้องการ
จะสั่งซื้อผ่านระบบออนไลน์
· Directory : บริการค้นหาสาระสำคัญต่าง ๆ ที่อยู่บนเว็บไซต์
· Labs : บริการใหม่ ๆ ของ Google ที่สามารถเข้าไปทดสอบใช้งานได้ฟรี ก่อนที่จะออกมาเป็นชุดเต็มของโปรแกรม · Mobile : บริการหลักของ Google ที่สามารถนำไปใช้ได้กับเครื่องโทรศัพท์มือถือ เช่น บริการดัชนีค้นหาเอกสาร รูปภาพ หรือส่ง SMS
· News : บริการรายงานข้อมูลข่าวสารใหม่ ๆ จากทั่วทุกมุมโลกที่มีให้ได้อ่านก่อนใคร
· Scholar : บริการค้นหาเอกสารงานวิจัยใหม่ ๆ รวมทั้งบทคัดย่อจากห้องสมุดใหญ่ ๆ มากมาย
· Special Searches : บริการค้นหาประเด็นสาธารณะในส่วนที่เป็นองค์กร หรือว่าสถาบันที่ไม่หวังผลกำไรต่าง ๆ รวมถึงบริการค้นหาเว็บไซต์ของสถานศึกษาต่าง ๆ ที่มีรายละเอียดในเรื่องของหลักสูตรการสอนและระเบียบวิธีการเข้าศึกษาต่อทั้งในระดับโรงเรียนและมหาวิทยาลัย · Video : บริการค้นหารายการทีวีทางโทรทัศน์ เกมโชว์ มิวสิควิดีโอ ที่สามารถเช่าชั่วโมงมาดูกันแบบออนไลน์ผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์
3. บริการในกลุ่ม Google Tools
· Blogger : เว็บไซต์ที่มีเครื่องมือสำหรับสร้าง Blogger ของตัวเอง
· Code : เครื่องมือสำหรับดาวน์โหลด APls และ Source code
· Desktop : เครื่องมือสำหรับช่วยค้นหาไฟล์และข้อมูลต่าง ๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์
· Earth : เครื่องมือที่ทำให้สามารถค้นหาแผนที่โลกจากดาวเทียม
· Gmail : เป็นบริการอีเมลล์ฟรีและมีขนาดพื้นที่เก็บเมลล์ใหญ่จุใจ มีความจุกว่า 2.6 กิกะไบต์ ที่สำคัญ Google ให้ใช้ฟรี · Pack : ชุดเครื่องมือรวมฮิตของ Google รวมถึงบราวเซอร์สุดเก่ง
· Firetox Picasa : เครื่องมือสำหรับการบริหารและจัดการรูปภาพทั้งหมดที่มีอยู่ใน
คอมพิวเตอร์
· Local for Mobile : เครื่องมือสำหรับค้นหาแผนที่ของสถานที่ต่าง ๆ บนโทรศัพท์มือถือ
· Talk : เครื่องมือที่ทำให้สามารถพูดคุย ส่งอีเมล์ กับเพื่อน ๆ แบบเรียลไทม์ออนไลน์
· Toobar : กล่องเครื่องมือที่ทำให้เว็บไซต์สามารถเข้าไปค้นหาข้อมูลได้โดยตรง โดยไม่ต้องเข้าไปที่เว็บไซต์ของ Google · Translate : เครื่องมือที่ทำให้สามารถดูเว็บไซต์ได้หลาย ๆ ภาษา
· Labs : กลุ่มของชุดเครื่องมือใหม่ ๆ ของ Google ที่สามารถเข้าไปทดลองดาวน์โหลดได้ฟรี
· Google Adsense เป็นแหล่งทำเงินบนอินเตอร์เน็ตชั้นดี ไม่ใช่ระบบลูกโซ่แบบที่เห็น ๆ
กันในมากมายในบ้านเรา และที่ดีที่สุดคือไม่เบี้ยวเงินเราแน่นอน เมื่อเราทำยอดได้ตามเป้าหมาย กูเกิ้ลก็จะส่งเช็คมาถึงตู้จดหมายบ้านเรา
· Google Adwords ใช้สำหรับลงโฆษณากับกูเกิ้ล เป็นการโปรโมทเว็บไซต์ในระยะสั้น และค่อนข้างได้ผลดี (โดยเฉพาะเว็บภาษาอังกฤษล้วน) Google Adwords เองยังสามารถนำไปประยุกต์เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับเว็บไซต์ได้อย่างรวดเร็วอีกด้วย
2. การค้นหาข้อมูลขั้นสูงมีวิธีการดังนี้
ในกรณีที่ผลลัพธ์ของการค้นหาแบบขั้นพื้นฐานยังไม่สามารถให้ผลที่ตรงตามความต้องการ การค้นหาขั้นสูงนี้จะช่วยให้คุณสามารถปรับแต่งเงื่อนไขต่างๆเพื่อให้ได้ผลลัพท์ที่ดีที่สุด ถ้าคุณต้องการไปยังหน้าที่อยู่ด้านล่าง ท่านสามารถเข้าได้โดนคลิ๊กที่ลิงค์ ค้นหาขั้นสูง
คำอธิบายตามการใช้งานของการค้นหาขั้นสูง
การค้นหาขั้นสูงสนับสนุนการสืบค้นข้อมูลด้วยเงื่อนไขต่างๆหลากหลายรูปแบบ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้งานที่ต้องการข้อมูลที่เฉพาะเจาะจง และตรงความต้องการของผู้ใช้มากที่สุด โดยรูปแบบของเงื่อนไขต่างๆที่ระบบสนับสนุนมีดังต่อไปนี้
ข้อมูลที่มีคำเหล่านี้ทั้งหมด ตัวอย่าง เช่น ค้นหาคำว่า หนังสือ AND กระทรวง จะได้ผลการค้นหาของข้อมูลเอกสารที่มีคำทั้งสองเท่านั้น
Phrase Matching คือ ค้นหาวลีหรือข้อความที่ตรงตามรูปแบบนี้เท่านั้น โดยการใช้สัญลักษณ์ (" ") ครอบวลีหรือข้อความที่เราต้องการสืบค้น เช่น "ประมวลรัษฎากร"
ข้อมูลที่มีคำเหล่านี้อย่างน้อยหนึ่งคำ ตัวอย่างเช่น ค้นหาคำว่า ภาษี OR เงินได้ จะได้ผลการค้นหาของข้อมูลเอกสารที่มีคำใดคำหนึ่งก็ได้
ข้อมูลที่ไม่มีคำเหล่านี้ ตัวอย่างเช่น ค้นหาคำว่า หนังสือ NOT กระทรวง จะได้ผลการค้นหาของข้อมูลเอกสารที่มีคำว่า หนังสือ แต่ไม่มีคำว่า กระทรวง
หมายเหตุ: ผู้ใช้สามารถใส่คำค้นในช่อง A, B, C และ D พร้อมกันได้ โดยคำค้นในทุกช่องจะถูกนำมา And กันทั้งหมด
เลือกรูปแบบว่าจะค้นหาทั่วโลก โดยการเลือกเช็คบ๊อกซ์แล้วจึงกดค้นหา Google
กำหนดลักษณะการค้นหาได้แบบไวยากรณ์ ตัวอย่างเช่น "track" ใช้ไวยากรณ์ โดยใช้สัญลักษณ์(~) เช่น ค้นหาคำว่า “ track~ “ จะได้ผลการค้นหาของ track tracks tracking เป็นต้น
ใช้ไวยากรณ์ (เฉพาะภาษาอังกฤษ)
สามารถกำหนดกลุ่มคำที่สะกดไม่เหมือนกัน เพื่อสืบค้นได้ (หรือใช้ สัญลักษณ์ % ซึ่งได้อธิบายวิธีการใช้ไว้ในหน้า Basic Search) ซึ่งเลขระดับของการสะกดผิดจะแสดงถึง จำนวนตัวอักษรที่น่าจะสะกดผิด เช่น ค้นหาคำว่า สันพากร เมื่อค้นหาจะได้ผลลัพธ์ของเอกสารที่มี คำว่า สรรพากร เป็นต้น
สะกดคำผิดได้ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ระดับ
กำหนดหมวดในการค้นหา ตัวอย่าง ค้นหาข้อมูลที่มีอยู่ในส่วนกลาง (ทุกหมวด), ค้นหาข้อมูลที่ถูกจัดไว้ในหมวดประมวลรัษฎากร
กรมสรรพากร ประมวลรัษฎากร คำพิพากษาฎีกา ความรู้เรื่องภาษี ข้อหารือภาษีอากร
กำหนดขอบเขตการค้นหาแบ่งตามหน่วยงานของกรมสรรพากร ตัวอย่าง ค้นหาข้อมูลที่อยู่ในภาค 1 จากทุกสำนักงานพื้นที่
ทั้งหมดภาค1ภาค2ภาค3ภาค4ภาค5ภาค6ภาค7ภาค8ภาค9ภาค10ภาค11ภาค12 ทุกสำนักงานพื้นที่
กำหนดรูปแบบผลลัพธ์ของภาษา เช่น กำหนดให้แสดงผลลัพธ์เฉพาะเอกสารเป็นภาษาอังกฤษ หรือ ภาษาไทย หรือ ทุกภาษา
ทุกภาษา ไทย English
กำหนดการแสดงผลเรียงตามความต้องการ ตัวอย่าง เรียงข้อมูลตามจำนวนคำที่มากที่สุดในเอกสาร, เรียงข้อมูลตามวันและเวลา, เรียงข้อมูลตามชื่อเอกสาร และ เรียงข้อมูลตามขนาดของไฟล์
เรียงตาม: คะแนน ชื่อเอกสาร ขนาดเอกสาร แสดง 10 15 20 30 50 รายการ/หน้า
กำหนดการแสดงผลเรียงตามความต้องการ ตัวอย่าง เรียงข้อมูลตามจำนวนคำที่มากที่สุดในเอกสาร, เรียงข้อมูลตามวันและเวลา, เรียงข้อมูลตามชื่อเอกสาร และ เรียงข้อมูลตามขนาดของไฟล์
ทุกประเภท Word Document (.doc) Excel Worksheet (.xls) Power Point Presentation (.ppt) Acrobat Portable Document (.PDF) Hypertext Markup Language (.html) Text Documents(.txt)
กำหนดการแสดงผลเรียงตามความต้องการ ตัวอย่าง เรียงข้อมูลตามจำนวนคำที่มากที่สุดในเอกสาร, เรียงข้อมูลตามวันและเวลา, เรียงข้อมูลตามชื่อเอกสาร และ เรียงข้อมูลตามขนาดของไฟล์
ทุกขนาด ขนาดเล็ก(น้อยกว่า100kb) ขนาดกลาง(100kb-1Mb) ขนาดใหญ่(มากกว่า1Mb)
3. Web ที่ใช้ค้นหาข้อมูลนอกจาก google แล้ว ยังมี sanook.com, yahoo.com, altavista.com, excite.com, webcrawler.com
4. หมวดหมู่ในการค้นหาโดยใช้ google
เว็บ,รูปภาพ, แผนที่ ,แปลภาษา, กูรู, บล็อก ,Gmail ,เพิ่มเติม , ไดเรกทอรี ,ปฏิทิน ,ภาพถ่าย ,เอกสาร ,ไซต์ Groups, Web History , การตั้งค่า , การตั้งค่าการค้นหา ,การตั้งค่าบัญชี Google
ที่มา http://intersearch.rd.go.th/search/HelpAdvance.aspx
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น